คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
Economics
- หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต (เศรษฐกิจดิจิทัล) BACHELOR OF ECONOMICS (Digital Economy)
- หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (เศรษฐกิจดิจิทัล) MASTER OF ECONOMICS (Digital Economy)
- หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์การเมืองระหว่างประเทศและการพัฒนา) DOCTOR OF PHILOSOPHY (International Political Economy and Development)
econ.rsu.ac.th
www.facebook.com/RSUEcon
หลักสูตรปริญญาตรี
บูรณาการระหว่างเศรษฐศาสตร์และรัฐศาสตร์ สามารถเรียนจบปริญญาตรีภายใน 3 ปีครึ่ง
เรียนจบภายใน 4 ปีครึ่งได้รับสองปริญญา (เศรษฐศาสตรบัณฑิตและรัฐศาสตรบัณฑิต)
สามารถเรียนจบภายใน 5 ปีได้รับปริญญาตรีควบปริญญาโท (เศรษฐกิจดิจิทัล)
มีทุนการศึกษาหลากหลาย อาทิ “ทุนดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์” “ทุนประสิทธิ์-คุณหญิงพัฒนา อุไรรัตน์” “ทุนดร.อรรถวิทย์
อุไรรัตน์” “ทุนศิษย์เก่า RSU-Family” “ทุนความสามารถพิเศษต่างๆ” และ “กองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา (ก.ย.ศ.)
หลักสูตร 3 หมวดวิชาชีพเฉพาะด้าน และวิชาชีพเลือกที่หลากหลาย
3 หมวดวิชาชีพเฉพาะด้าน
กลุ่มวิชาเศรษฐศาสตร์ดิจิทัล (Digital Economics)
เศรษฐศาสตร์ดิจิทัลและนวัตกรรม เศรษฐศาสตร์การจัดการเชิงดิจิทัล เศรษฐศาสตร์โลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทานยุคดิจิทัล เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยนโยบายการตลาดและกลยุทธ์ทางธุรกิจดิจิทัล หัวข้อเฉพาะทางด้านเศรษฐกิจดิจิทัล
กลุ่มวิชาเศรษฐศาสาตร์การเงินดิจิทัล (Economics of Digital Financial)
การวิเคราะห์สินเชื่อ เศรษฐศาสตร์การเงินการลงทุน เศรษฐศาสตร์เทคโนโลยีทางการเงิน เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ หัวข้อเฉพาะทางด้านเศรษฐศาสาตร์การเงินดิจิทัล
กลุ่มวิชาเศรษฐศาสตร์ภาครัฐดิจิทัล (Economics of Digital Public Sector)
เศรษฐศาสตร์การคลัง เศรษฐกิจภาคประชาชน เศรษฐศาสตร์การเมืองโลกาภิวัตน์ เศรษฐศาสตร์การบริหารภาครัฐในยุคดิจิทัล หัวข้อเฉพาะทางด้านเศรษฐศาสตร์ภาครัฐดิจิทัล
วิชาชีพเลือกที่หลากหลาย
เศรษฐศาสตร์การพัฒนาในยุคดิจิทัล ธรรมาภิบาลสำหรับนักเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน เศรษฐศาสตร์ภูมิภาคและเมือง เศรษฐศาสตร์พลังงาน เศรษฐศาสตร์ขนส่ง นิติเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์นิเทศศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ภาคบริการ เศรษฐศาสตร์สหกรณ์ พุทธเศรษฐศาสตร์และการพัฒนา การบัญชีสำหรับนักเศรษฐศาสตร์ เศรษฐมิติ การประเมินโครงการในยุคดิจิทัล เศรษฐศาสตร์การเจราจาทางการค้าระหว่างประเทศ เศรษฐศาสตร์แรงงาน เศรษฐศาสตร์พฤติกรรม เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม เศรษฐกิจประเทศไทย ประเด็นปัญหาเศรษฐกิจในปัจจุบัน เศรษฐศาสตร์: ศึกษาเฉพาะเรื่อง
หลักสูตรปริญญาโท
หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 36 หน่วยกิต เลือกศึกษาได้ 3 แบบ
แผน ก แบบ ก1 (ทำเฉพาะวิทยานิพนธ์)
แผน ก แบบ ก2 (ศึกษารายวิชาและทำวิทยานิพนธ์)
แผน ข (การศึกษาค้นคว้าอิสระ)
หลักสูตรปริญญาเอก
หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 48 หน่วยกิต การศึกษา แผน ก. ทำวิทยานิพนธ์ 100%
คณาจารย์ประจำ
รศ.ดร.ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ, คณบดี
Associate Professeor Dr.Narong Petprasert, Dean
Ph.D. (Political Economy) LaTrobe University, Australia.
M.A. (Social Studies) International Institute of Social Studies, the Hague, Netherlands
ศ.ม.(เศรษฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รศ. ดร. สิตานนท์ เจษฎาพิพัฒน์
Associate Professeor Dr.Sitanon Jesdapipat
Ph.D. (Agricultural Economics) (ทุนรัฐบาล) จาก University of Illinois at Urbana-Champaign, U.S.A.
M.Sc., Ag.Ec. (ทุนรัฐบาล) จาก Pennsylvania State Universit, U.S.A.
Certificate of Environmental Economics, Kennedy School of Government, Harvard University, U.S.A.
Certificate of Climate Change Policy Analysis, Kennedy School of Government, Harvard University, U.S.A.
ผศ.ดร.เทอดศักดิ์ ชมโต๊ะสุวรรณ
Assistant Professor Dr. Thoedsak Chomtohsuwan
D.Econ. (Economics), Saitama University, Japan ทุนรัฐบาลญี่ปุ่น
ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ได้รับรางวัลที่ 1 การประกวดวิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษา สาขาเศรษฐศาสตร์ ระดับประเทศ ประจำปี พ.ศ.2548 ของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ)
ผศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ
Assistant Prefessor Dr. Anusorn Tamajai
Ph.D. (Economics), Fordham University, New York, U.S.A.
M.B.A., Southeastern University, U.S.A.
M.A. (Economics), Fordham University, New York, U.S.A.,
ผศ.ดร.วรรณกิตติ์ วรรณศิลป์
Assistant Professor Dr. Wannakiti Wanasilp
Ph.D. (Economics), National Institute of Development Administration (NIDA)
M.A. (Economics), Virginia Tech, U.S.A.
ผศ.ดร.เสาวลักษม์ กิตติประภัสร์
Assistant Professor Dr.Sauwalak Kittiprapas
Ph.D. Regional Sciences, University of Pennsylvania, U.S.A.
M.A. (Economics, English Program) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ผศ.ดร.มานวิภา อินทรทัต
Assistant Professor Dr.Manvipa Indradat
Ph.D. (Development Administration), International Doctoral Program, NIDA. (ได้รับรางวัลวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอกจากสภาวิจัยแห่งชาติ ประจำปี 2543 เรื่อง BOI ZONE 3 INVESTMENT PROMOTION POLICY: AN ANALYSIS OF POLICY OUTPUTS AND IMPACTS)
วท.ม. (เศรษฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (ได้รับทุนอุดหนุนวิทยานิพนธ์จากสภาวิจัยแห่งชาติ)
ผศ.ดร. ธันย์พัทร์ ใคร้วานิช
Assistant Professor Dr. Tanpat Kraiwanit
Ph.D. (Economics), Marathwada University, India.
Post-doctoral Fellowship (Economics), Chulalongkorn University and Nagoya University, Japan
ศศ.ม. (วิจัยประชากรและสังคม) มหาวิทยาลัยมหิดล
ดร.นริศรา เจริญพันธุ์
Dr.Narissara Charoenphandhu
Ph.D. (Agricultural and Resource Economics), The University of Tokyo, Japan (ทุน The University of Tokyo)
ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผศ.ผการัตน์ จำปาน้อย
Assistant Profess Pakarat Jumpanoi
M.A. (Economics), Western Michigan University, U.S.A.
อาจารย์ปัญญา พันพอน
Panya Panpon, Lecturer
ศศ.ม. (เศรษฐศาสตร์สหกรณ์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
อาจารย์อรอนงค์ นิธิภาคย์
Onanong Nithiphak, Lecturer
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์การเมือง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (วิทยานิพนธ์ระดับดีเยี่ยม เรื่อง ความเป็นไปในการสร้างฐานเศรษฐกิจแรงงานไทย กรณีศึกษาธนาคารแรงงาน, บริษัทมหาชนฟื้นฟูเกษตรกรเมืองเพชร และหมู่บ้านมั่นคงแรงงานสังคมเพื่อน)
อาจารย์พิเศษคณะเศรษฐศาสตร์
อาจารย์พิเศษหลักสูตรปริญญาตรี
รศ.ดร.ภิรมย์ จั่นถาวร
ศบ.เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
M.A. University of new Hampshire, U.S.A.
Ph.D Agricultural Economics Oklahoma State University, U.S.A.
อาจารย์พิเศษหลักสูตรปริญญาโท
รศ.ดร.วิษณุ ภูมิพานิช
Doctor of Management, De La Salle University (ABAC’s Scholarship)
รศ.ดร.อภิญญา วนเศรษฐ
Ph.D.(Economics), สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ดร.วรรณสินท์ สัตยานุวัตร์
Ph.D.Economics, University of Nebraska – Lincoln, USA
ดร.สุรชัย ตรัยวรรณกิจ
Ph.D.Economics, Innsbruck University, Austria
พร้อมทั้งอาจารย์พิเศษผู้มีประสบการณ์ในภาคปฏิบัติจากสถาบันการเงิน
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
กระทรวงการคลัง ธนาคารแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
“ผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจกลไกการปรับตัวทางเศรษฐกิจย่อมได้เปรียบในการเผชิญกับกระแสโลกาภิวัตน์”
จุดเด่นของหลักสูตร
หลักสูตรเน้นเนื้อหาทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ และการปฏิบัติ โดยในการเรียนการสอนมีทั้งการนำเสนอ การสัมมนาและการอภิปรายปัญหาต่าง ๆในทางเศรษฐกิจซึ่งจะช่วยให้นักศึกษากล้าแสดงออก จุดเด่นของการเรียนเศรษฐศาสตร์ คือช่วยให้ผู้ศึกษารู้จักเลือกใช้ทรัพยากรอย่างชาญฉลาดมีเหตุผลที่จะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ตนเองและสังคมคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต มีความมุ่งมั่นในทางเศรษฐศาสตร์ทั้งด้านการเรียนการสอน การวิจัย การฝึกอบรม และการบริการทางวิชาการแก่บุคคลและองค์กรทั้งในภาครัฐและเอกชน
คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
52/347 พหลโยธิน 87 ถ.พหลโยธิน อ.เมือง จ.ปทุมธานี 12000
โทร.0-2997-2200-30 ต่อ 1008,1038
econ.rsu.ac.th
การรับสมัคร
ขอรับใบสมัครได้ที่ ฝ่ายแนะแนวและรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต
อาคารอาทิตย์ อุไรรัตน์ (ตึก 1) ชั้น 1
โทร. 0-2791-5500-10 โทรสาร 0-2997-2394
www.rsu.ac.th
e-mail: info@rsu.ac.th
www.facebook.com/rangsituniversity
ศูนย์วิจัยเพื่อการปฏิรูปเศรษฐกิจ (ศวปศ.): Research Center for Economic Reform (RCER)
จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2552 เพื่อศึกษาวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านเศรษฐศาสตร์และธุรกิจและสนับสนุนการทำกิจกรรมทางวิชาการและการทำงานวิจัย ปัจจุบันได้เปลี่ยนชื่อเป็น “ศูนย์วิจัยเพื่อการปฏิรูปเศรษฐกิจ” เพื่อให้สอดรับกับพลวัตรของบริบทสังคม รวมถึงการประยุกต์ศาสตร์ด้านสังคมอื่นๆเข้ามาร่วมในการวิจัยและมีความเป็นสากลมากขึ้น ติดต่อได้ที่ โทร.0-2997-2200-30 ต่อ 1008,1038